บ้านสไตล์ไทยประยุกต์

Applied Thai style house

บ้านสไตล์ไทยประยุกต์ เหมาะกับสภาพภูมิอากาศแต่ละที่

ในปัจจุบันนี้ จึงได้เกิดการออกแบบ บ้านสไตล์ไทยประยุกต์ ซึ่งมีการผสมผสาน วิลล่าภูเก็ตที่ขาย ระหว่างรูปแบบเก่า ของบ้านทรงไทย กับบ้านแบบตะวันตกขึ้นมา เรามาดู บ้าน สไตล์ไทยประยุกต์กัน ความก้าวหน้า ทางการสื่อสารและเทคโนโลยีต่าง ๆ ที่ย่อโลกไว้ ในมือเราเดี๋ยวนี้ทำให้เกิดรูปแบบ ของการผสมผสาน ทางวัฒนธรรมไปทั่วโลก ไม่เว้นแม้แต่เมืองไทยของเรา ซึ่งเข้าสู่ยุคผสมผสาน อย่างชัดเจน แม้แต่ในแวดวง ของการออกแบบบ้าน ก็เข้าสู่ยุคที่เรียกว่าร่วมสมัย ด้วยเช่นกัน

บ้านสไตล์ไทยประยุกต์

เพราะว่าประเทศไทยของเรา เริ่มหารูปแบบ บ้าน ที่เป็นบ้านเรือนไทย หรือทรงไทย แท้ ๆ ยากขึ้นทุกวันแล้ว ถึงแม้ว่า เรือนไทยของเรานั้น จะมีข้อดีหลายประการเช่น เป็นเรือนที่เหมาะ กับสภาพภูมิอากาศ และการอยู่อาศัยของบ้านเรา ใต้ถุนสูง หลังคาสูง มีจั่วรับลม มีลานกว้าง กลางบ้าน เพื่อทำกิจกรรมต่าง ๆ ภายในครอบครัว มีครัวไทย ที่เหมาะสำหรับ ทำอาหารไทย ๆ 

และเป็นเรือน SALE VILLA ที่แสดงถึงวัฒนธรรมไทยแท้ก็ตาม แต่ทุกอย่าง ที่กล่าวมานั้น ก็อาจจะดูเชยไปไม่ล้ำสมัย เหมือนบ้านใหม่ ที่ถอดแบบหรือลอกเลียนแบบมาจากทางตะวันตก เรามาดูกันว่า มีแบบไหนบ้าง

เอกลักษณ์บ้านสไตล์ไทยประยุกต์

ซึ่งความสวยงามโดดเด่น มีเอกลักษณ์เฉพาะตัว ที่ผสมผสานงานสถาปัตยกรรมไทย แบบดั้งเดิม กับความทันสมัย ในปัจจุบัน จึงทำให้แบบบ้าน ไทยประยุกต์ กลายเป็นอีกหนึ่งทางเลือก ที่ใครหลายคนใฝ่ฝัน เพราะทั้งตอบโจทย์ การใช้ชีวิตได้อย่าง เหมาะสมและสะท้อน ความงดงามแบบไทยๆ ได้อย่างลงตัว ซึ่งในแต่ละภูมิภาค ของประเทศไทยมีความแตกต่างกัน ทั้งสภาพแวดล้อม

ภูมิศาสตร์ ภูมิอากาศ วิถีการดำเนินชีวิต คติความเชื่อและศาสนา ล้วนเป็นองค์ประกอบ ที่มีผลต่อการออกแบบบ้าน จึงทำให้เกิดคำถามที่ว่า จะสร้างบ้านแบบไหน ให้เหมาะสมและกลมกลืน กับธรรมชาติโดยรอบ ให้มากที่สุด วันนี้เรามีมาฝากกัน

แบบบ้านไทยประยุกต์ใต้ถุนสูง หลังคาทรงจั่ว สไตล์ภาคกลาง

ที่มีสภาพภูมิประเทศ ของภาคกลาง เป็นที่ราบลุ่ม และมักจะปลูกเรือนติดริมน้ำ เพื่อสะดวก ต่อการเดินทางสัญจร ทางน้ำและการประกอบอาชีพกสิกรรม ตัวบ้านจึงถูกออกแบบ ให้ยกใต้ถุนสูง ซึ่งนอกจากจะช่วยเรื่อง ป้องกันน้ำท่วม ในฤดูน้ำหลากแล้ว ใต้ถุนบ้านที่โล่งจะช่วย ให้ลมพัดผ่านได้ดี อีกทั้งยังสามารถป้องกัน อันตรายจากสัตว์ นานาชนิด

บ้านสไตล์ไทยประยุกต์

และจากภูมิอากาศ ที่มีทั้งฝน และแดด Villas in Pasak การออกแบบ รูปทรงหลังคาหน้าจั่ว ที่มีองศาความชันสูง จะช่วยเรื่อง การระบายน้ำ ได้อย่างรวดเร็ว จึงช่วยลดความเสี่ยง จากการรั่วซึมของหลังคา อีกทั้งหลังคาทรงสูง มีพื้นผิวที่รับ แสงแดดน้อยกว่า จึงส่งผลให้ภายในบ้าน มีอากาศเย็นสบาย คลายร้อน ได้อย่างรวดเร็ว บ้านสไตล์คอทเทจ

แบบบ้านไม้ไทยประยุกต์ ผสมปูนแบบใต้ถุนสูง สไตล์เมืองล้านนา

ในการออกแบบบ้านไทยประยุกต์ ในภาคเหนือ มีความแตกต่างออกไป จากภาคกลาง ด้วยขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมที่แตกต่าง รวมถึงเรื่องของดินฟ้าอากาศ ที่ยังแตกต่างกันด้วย ทั้งนี้ภาคเหนือ มีลักษณะภูมิประเทศ เป็นที่ราบสูง ทำให้มีภูมิอากาศ หนาวเย็นกว่าทุกภาค แบบบ้านไทยประยุกต์ ถิ่นล้านนาจึงนิยมการออกแบบ หลังคาทรงจั่ว

บ้านสไตล์ไทยประยุกต์

ชายคาบ้านที่ยื่นออกมา พร้อมยอดจั่ว ประดับกาแลหรือ แผ่นไม้สี่เหลี่ยม ไขว้กันที่แกะสลัก ปลายไม้อย่างอ่อนช้อย งดงาม มีหน้าต่างบ้านลักษณะ บานกระทุ้ง โดยเจาะช่อง ขนาดเล็กและแคบ เพื่อกันลมหนาว ส่วนใต้ถุนบ้าน จะยกพื้นไม่สูงมากนัก เพราะพื้นดิน สามารถช่วยเพิ่ม อุณภูมิให้ความอบอุ่น ภายในบ้านได้ดีเช่นกัน

แบบบ้านไทยประยุกต์สองชั้น ไม้ผสมปูน สไตล์แดนอีสาน 

สำหรับแบบบ้านไทยประยุกต์ ของภาคอีสาน มักยกให้มีพื้นที่ โล่งใต้เรือนที่เรียกว่าบ้าน ใต้ถุนสูง โดยปล่อยโล่งไว้ สำหรับเป็นพื้นที่อเนกประสงค์ ซึ่งในอดีตเป็นที่สำหรับ จัดเก็บอุปกรณ์ ทางการเกษตร และประกอบอาชีพ หัตถกรรมนอกฤดู เพาะปลูก เช่นการทอผ้า เป็นต้น ส่วนการออกแบบ หลังคาหน้าจั่ว จะมีองศาความชัน ที่น้อยกว่าภาคกลาง โครงสร้างภายนอก และภายในบ้านค่อนข้าง ทึบมักมีบานหน้าต่างเป็นช่องแคบๆ  เพื่อช่วยป้องกันลมพัดแรง และอากาศหนาวเย็น ในฤดูหนาว

บ้านสไตล์ไทยประยุกต์

แบบบ้านไทยประยุกต์ ชั้นเดียวยกสูง สไตล์ภาคใต้ 

ซึ่งภาคใต้นับเป็นอีกหนึ่งภูมิภาค ที่มีความหลากหลาย ทางเชื้อชาติและศาสนา ซึ่งประกอบด้วยชาวไทยพุทธ และมุสลิมผสม กลมกลืนอยู่ในพื้นที่เดียวกัน โดยการออกแบบ เสาเรือนจะเป็นเสาไม้ บนฐานคอนกรีต หรือเป็นแบบเสาคอนกรีต

Applied Thai style house

ยกพื้นบ้าน ให้มีความสูงพอแค่เดินลอดได้ เพราะสาเหตุ จากสภาพแวดล้อม ทางธรรมชาติที่มีพายุ ใต้ฝุ่น พายุฝน ลมแรง จึงต้องออกแบบโครงสร้าง ให้มีความแข็งแรง เป็นพิเศษ ส่วนทรงหลังคานั้น จะแตกต่างกันออกไป สำหรับบ้านชาวพุทธ ในภาคใต้จะปรากฏ ในรูปแบบหลังคาทรงจั่ว แบบไม่มีการตกแต่ง หน้าจั่ว ส่วนบ้านแบบ ของชุมชนชาวไทยมุสลิม

จะนิยมแบบหลังคา วิลล่าภูเก็ตป่าสัก ทรงปั้นหยา และทรงหลังคา มนิลา หรือหลังคาบรานอร์ ที่เป็นการผสมผสาน ระหว่างทรงหลังคาจั่ว กับหลังคาปั้นหยา โดยหน้าจั่ว จะค่อนข้างเตี้ย กว่าและเพิ่ม เติมลายไม้ ฉลุที่บริเวณส่วนยอด

สำหรับการสร้างบ้านในรูปแบบต่างๆ ที่ได้นำเสนอไป จะเห็นได้ว่า ส่วนสำคัญ ของการสร้างบ้าน ไม่ใช่เพียงเรื่อง ของความสวยงามเท่านั้น แต่ยังรวมถึงภูมิศาสตร์ ที่ตั้งของบ้าน และองค์ประกอบอื่นๆ เช่น สภาพภูมิประเทศ ดินฟ้าอากาศ ทรัพยากร

ที่หาได้ในท้องถิ่น รวมทั้งภูมิปัญญา และคติความเชื่อต่าง มีส่วนสัมพันธ์เกี่ยว เนื่องกัน กลายเป็นอีกหนึ่งเหตุผล สำคัญที่ทำให้การออกแบบบ้าน ในแต่ละท้องถิ่น มีความแตกต่างกันออกไป แต่ก็จะเห็นได้ว่า ในแต่ละท้องถิ่น ต่างล้วนคำนึงถึง ความเหมาะสม และสอดคล้องกับวิถีชีวิต พร้อมสอดรับ กับธรรมชาติแวดล้อม อย่างลงตัว เพื่อประโยชน์สูงสุด ของผู้อาศัย


อ่านบทความเพิ่มเติ่ม ขายวิลล่าภูเก็ต ขายบ้านภูเก็ต invest in phuket property phuket villa for sale phuket village village phuket รีวิวบ้าน ขายวิลล่าภูเก็ต ขายบ้านภูเก็ต ซื้อบ้าน ตกแต่งบ้าน วิลล่าราคาถูกภูเก็ต วิลล่าภูเก็ตที่ขาย

ซื้อวิลล่า ภูเก็ต Sale Villas Phuket (RU) ภูเก็ตวิลล่า คอร์ปอเรชั่น